วันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2552 ปีที่ 32 ฉบับที่ 11547 มติชนรายวัน
ขรก.ฝืนกฎ 9 ข้อ หมดสิทธิขึ้นเงินเดือน
คอลัมน์ ข้าราษฎร
โดย สายสะพาย
เมื่อ กลางเดือนตุลาคม 2552 มีการประกาศใช้กฎ ก.พ.ว่าด้วยการเลื่อนเงินเดือน พ.ศ.2552 ในราชกิจจานุเบกษา ให้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2552 สาระสำคัญของกฎ ก.พ.ฉบับนี้ คือการเลื่อนขึ้นเงินเดือนข้าราชการพลเรือนสามัญให้ทำปีละ 2 ครั้งแต่ละครั้งห้ามเกินร้อยละ 6 ของฐานในการคำนวณเพื่อเลื่อนเงินเดือน
ขณะเดียวกันห้ามใช้วิธีการหารเฉลี่ยเพื่อให้ข้าราชการทุกคนได้รับการเลื่อนเงินเดือนในอัตราร้อยละที่เท่ากัน
นอก จากนั้น การขึ้นเงินเดือน จะพิจารณาตามการปฏิบัติตนและหน้าที่ซึ่งข้าราชการซึ่งจะได้รับการพิจารณา เลื่อนเงินเดือนในแต่ละครั้งต้องอยู่ในหลักเกณฑ์ 9 ข้อดังต่อไปนี้
1.ในครึ่งปีที่แล้วมามีผลการประเมินผลการปฏิบัติราชการไม่ต่ำกว่าระดับพอใช้หรือร้อยละ 60
2.ใน ครึ่งปีที่แล้วมาต้องไม่ถูกสั่งลงโทษทางวินัยที่หนักกว่าโทษภาคทัณฑ์ หรือไม่ถูกศาลพิพากษาให้ลงโทษในความผิดที่เกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ หรือความผิดที่ทำให้เสื่อมเสียเกียรติศักดิ์ของตำแหน่งหน้าที่ซึ่งมิใช่ความ ผิดที่ได้กระทำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
3.ในครึ่งปีที่แล้วมาต้องไม่ถูกสั่งพักราชการเกินกว่า 2 เดือน
4.ในครึ่งปีที่แล้วมาต้องไม่ขาดราชการโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร
5.ใน ครึ่งปีที่แล้วมาต้องได้รับการบรรจุเข้ารับราชการมาแล้วเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 4 เดือนหรือได้ปฏิบัติราชการมาแล้วเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 4 เดือนก่อนถึงแก่ความตาย
6.ในครึ่งปีที่แล้วมาไปศึกษา ฝึกอบรม ดูงาน หรือปฏิบัติการวิจัยในประเทศหรือต่างประเทศ ต้องมีเวลาปฏิบัติราชการไม่น้อยกว่า 4 เดือน
7.ในครึ่งปีที่แล้วมา ลาติดตามคู่สมรสไปปฏิบัติราชการหรือปฏิบัติงานในต่างประเทศ ต้องมีเวลาปฏิบัติราชการไม่น้อยกว่า 4 เดือน
8.ใน ครึ่งปีที่แล้วมาต้องไม่ลา หรือมาทำงานสายเกินจำนวนครั้งที่ผู้บังคับบัญชากำหนดเป็นหนังสือไว้ก่อนแล้ว โดยคำนึงถึงลักษณะงานและสภาพท้องที่อันเป็นที่ตั้งของหน่วยงาน
9.ใน ครึ่งปีที่แล้วมาต้องมีเวลาปฏิบัติราชการ โดยมีวันลาไม่เกิน 23 วัน (เฉพาะวันทำการ) แต่ไม่รวมถึงวันลาตาม (6) หรือ (7) และวันลาดังต่อไปนี้
(ก) ลาอุปสมบท หรือลาไปประกอบพิธีฮัจญ์ ณ เมืองเมกกะ ประเทศซาอุดีอาระเบียเฉพาะวันลาที่มีสิทธิได้รับเงินเดือนระหว่างลาตาม กฎหมายว่าด้วยการจ่ายเงินเดือน
ขรก.ฝืนกฎ 9 ข้อ หมดสิทธิขึ้นเงินเดือน
คอลัมน์ ข้าราษฎร
โดย สายสะพาย
เมื่อ กลางเดือนตุลาคม 2552 มีการประกาศใช้กฎ ก.พ.ว่าด้วยการเลื่อนเงินเดือน พ.ศ.2552 ในราชกิจจานุเบกษา ให้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2552 สาระสำคัญของกฎ ก.พ.ฉบับนี้ คือการเลื่อนขึ้นเงินเดือนข้าราชการพลเรือนสามัญให้ทำปีละ 2 ครั้งแต่ละครั้งห้ามเกินร้อยละ 6 ของฐานในการคำนวณเพื่อเลื่อนเงินเดือน
ขณะเดียวกันห้ามใช้วิธีการหารเฉลี่ยเพื่อให้ข้าราชการทุกคนได้รับการเลื่อนเงินเดือนในอัตราร้อยละที่เท่ากัน
นอก จากนั้น การขึ้นเงินเดือน จะพิจารณาตามการปฏิบัติตนและหน้าที่ซึ่งข้าราชการซึ่งจะได้รับการพิจารณา เลื่อนเงินเดือนในแต่ละครั้งต้องอยู่ในหลักเกณฑ์ 9 ข้อดังต่อไปนี้
1.ในครึ่งปีที่แล้วมามีผลการประเมินผลการปฏิบัติราชการไม่ต่ำกว่าระดับพอใช้หรือร้อยละ 60
2.ใน ครึ่งปีที่แล้วมาต้องไม่ถูกสั่งลงโทษทางวินัยที่หนักกว่าโทษภาคทัณฑ์ หรือไม่ถูกศาลพิพากษาให้ลงโทษในความผิดที่เกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ หรือความผิดที่ทำให้เสื่อมเสียเกียรติศักดิ์ของตำแหน่งหน้าที่ซึ่งมิใช่ความ ผิดที่ได้กระทำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
3.ในครึ่งปีที่แล้วมาต้องไม่ถูกสั่งพักราชการเกินกว่า 2 เดือน
4.ในครึ่งปีที่แล้วมาต้องไม่ขาดราชการโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร
5.ใน ครึ่งปีที่แล้วมาต้องได้รับการบรรจุเข้ารับราชการมาแล้วเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 4 เดือนหรือได้ปฏิบัติราชการมาแล้วเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 4 เดือนก่อนถึงแก่ความตาย
6.ในครึ่งปีที่แล้วมาไปศึกษา ฝึกอบรม ดูงาน หรือปฏิบัติการวิจัยในประเทศหรือต่างประเทศ ต้องมีเวลาปฏิบัติราชการไม่น้อยกว่า 4 เดือน
7.ในครึ่งปีที่แล้วมา ลาติดตามคู่สมรสไปปฏิบัติราชการหรือปฏิบัติงานในต่างประเทศ ต้องมีเวลาปฏิบัติราชการไม่น้อยกว่า 4 เดือน
8.ใน ครึ่งปีที่แล้วมาต้องไม่ลา หรือมาทำงานสายเกินจำนวนครั้งที่ผู้บังคับบัญชากำหนดเป็นหนังสือไว้ก่อนแล้ว โดยคำนึงถึงลักษณะงานและสภาพท้องที่อันเป็นที่ตั้งของหน่วยงาน
9.ใน ครึ่งปีที่แล้วมาต้องมีเวลาปฏิบัติราชการ โดยมีวันลาไม่เกิน 23 วัน (เฉพาะวันทำการ) แต่ไม่รวมถึงวันลาตาม (6) หรือ (7) และวันลาดังต่อไปนี้
(ก) ลาอุปสมบท หรือลาไปประกอบพิธีฮัจญ์ ณ เมืองเมกกะ ประเทศซาอุดีอาระเบียเฉพาะวันลาที่มีสิทธิได้รับเงินเดือนระหว่างลาตาม กฎหมายว่าด้วยการจ่ายเงินเดือน
(ข) ลาคลอดบุตรไม่เกิน 90 วัน
(ค) ลาป่วยซึ่งจำเป็นต้องรักษาตัวเป็นเวลานานไม่ว่าคราวเดียวหรือหลายคราวรวมกัน ไม่เกิน 60 วันทำการ
(ค) ลาป่วยซึ่งจำเป็นต้องรักษาตัวเป็นเวลานานไม่ว่าคราวเดียวหรือหลายคราวรวมกัน ไม่เกิน 60 วันทำการ
(ง) ลาป่วยเพราะประสบอันตรายในขณะปฏิบัติราชการตามหน้าที่
(จ) ลาพักผ่อน
(ฉ) ลาเข้ารับการตรวจเลือกหรือเข้ารับการเตรียมพล
(ช) ลาไปปฏิบัติงานในองค์การระหว่างประเทศ
หน้า 22
--
ขอเชิญอ่าน blog.Thank you so much.
chan
http://integration9.blogspot.com/ integration
http://sundara21.blogspot.com/ sandara
http://same111.blogspot.com/ culture
http://sea-canoe.blogspot.com/ seacanoe
www.pil.in.th
หน้า 22
--
ขอเชิญอ่าน blog.Thank you so much.
chan
http://integration9.blogspot.com/ integration
http://sundara21.blogspot.com/ sandara
http://same111.blogspot.com/ culture
http://sea-canoe.blogspot.com/ seacanoe
www.pil.in.th
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น